download

Department of Linguistics

Kasetsart University

66183053_2935109709893914_4534422129457758208_n

ผศ. ดร. ธนศักดิ์ ศิริคะเณรัตน์

Thanasak Sirikanerat , Ph.D.

แนวทางการวิจัยที่สนใจ

สัทศาสตร์ (Phonetics)

สัทวิทยา (Phonology)

นิติภาษาศาสตร์ (Forensic linguistics)

ภาษาศาสตร์ประสาทวิทยา (Neurolinguistics)

ภาษาศาสตร์เชิงการทดลอง (Experimental linguistics)

ประวัติการศึกษา

  • Ph.D. (International Cultural Studies) – Tohoku University, Japan
  • อ.ม. (ภาษาศาสตร์) – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อ.บ. เกียรตินิยมอันดับ 1 (ภาษาญี่ปุ่น) – มหาวิทยาลัยศิลปากร

ติดต่อ

รหัสอาจารย์ : L4022

thanasak.si@ku.th

ทิศทางการวิจัย

ผลงานตีพิมพ์

Jaraspermsuk, Ngampit and Sirikanerat, Thanasak. (2022). A  study of defamation from speech act theory perspective. Proceedings of the 8th International Joint Conference on Korean Studies and Thai, Ramkanhaeng University, Bangkok, 1-2 September (pp. 324-336).

 

Sirikanerat, T. and Sugaya, N. (2017). Dainigengo no goigakushuu ni okeru onkyoutekibarieishon no kouka ni kansuru kenkyuu no gaiyou (An overview of acoustic variability on second language vocabulary learning). Bulletin of Institute for Excellence in Higher Education, Tohoku University, 379-390.

 

Maklai, S., Ratitamkul, T. and Sirikanerat, T. (2017). The use of the Thai final particle NA by Japanese learners of Thai. Manusya, 20 (2), 27-54.

 

Sirikanerat, T. and Sugaya, N. (2016). Is a separate perceptual training task necessary for Japanese pitch accent acquisition by Thai learners? Paper presented at The 1st International Symposium on Applied Phonetics (ISAPh2016), Chunu University, Tokyo, 25-28 March 2016.

 

Sirikanerat, T. and Sugaya, N. (2016). Does talker variability improve the learning of word level prosody? Paper presented at Pacific Second Language Research Forum 2016 (PacSLRF2016), Chuo University, Tokyo, 9-11 September 2016

 

Sirikanerat, T. and Sugaya, N. (2016). Benbetsukadai ni yoru taijin nihongo gakushuusha no akusentochikaku no konnanten: akusentokata to fukusuu no washa no onsei no eikyou o chuushin ni (Difficulties in the perception of Japanese pitch accent by Thai learners using discrimination paradigm: The effects of accent type and multi-talker variation). Bulletin of Institute for Excellence in Higher Education, Tohoku University, 63-74.

 

Sirikanerat, T. and Ketkaew, C. (2015). Tonal assignment on English loanwords in Thai: A case study of assignment of Mid and High tone on syllable structure. Paper presented at International Conference on Phonetics and Phonology 2015 Theoretical Linguistics at Keio (ICPP2015) , Keio University, Tokyo, 25-27 September 2015.

 

Sirikanerat, T. & Sugaya, N. (2014). The effect of pitch variation in Japanese pitch accent on L2 learners: A pilot study. Proceedings of the 28th General Meeting of The Phonetic Society of Japan, Tokyo University of Agriculture and Technology Koganei Campus, Tokyo, 27-28 September (pp. 111-116).

 

Sirikanerat, T., Sugaya, N. & Yoshimoto, K. (2014). Oddity tasuku ni yoru taijin gakushuusha no akusentochikaku no konnanten: seitouritsu to hannou jikan ni yoru bunseki (Difficulties in the perception of Japanese pitch accent by Thai learners using Oddity paradigm: The analysis based on accuracy and reaction time). Proceedings of the 25th General Meeting of Second Language Acquisition Research (JASLA), Tsukuba University, Ibaraki, 13-14 December (pp. 55-56).

 

Sirikanerat, T. (2012). Patterns of pronunciation of Japanese Moraic Nasal by Thai learners. Japanese Studies Journal, 29 (1), 47-59.

 

ดุสิตา พุทธศรี และ ธนศักดิ์ ศิริคะเณรัตน์. (2566). การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสิ่งกระตุ้นทางสายตาในการออกเสียงประโยคคำถามภาษาอังกฤษของผู้เรียนชาวไทย. วารสารศิลปศาสตร์, 23(3). 63-85.

 

ชุติชล เอมดิษฐ และ คณะ. (2566). ภาษาในป้ายห้ามของไทย: การศึกษาตามแนวภูมิทัศน์ภาษา. วารสารจันทรเกษมสาร, 29(1). (65-80).

 

ธนศักดิ์ ศิริคะเณรัตน์. (2565). การวิเคราะห์ ผลทดสอบการฟังเสียง: การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการใช้คะแนนถูกผิดกับค่า d’. วารสารมนุษยศาสตร์สาร       ปีที่ 23, ฉบับที่ 2, 85-103.

 

ธนศักดิ์ ศิริคะเณรัตน์. (2564). การเปรียบเทียบเสียงผู้พูดภาษาไทยด้วยระยะทางแบบยูคลิก: กรณีศึกษาค่าทางกลสัทศาสตร์ด้านระยะเวลา. วารสารศิลปะศาสตร์ ปีที่ 21, 173-188.

 

ธนศักดิ์ ศิริคะเณรัตน์, พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์, ธีราภรณ์ รติธรรมกุล (2563). การวิเคราะห์พฤติกรรมอสมมาตรในการออกเสียงภาษาที่สองตามแนวทฤษฎีอุตมผล: กรณีศึกษาการออกเสียง /N/ ในภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทย. วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 1, 30-60.

 

ดุสิตา พุทธศรี, อุมาภรณ์ สังขมาน และ ธนศักดิ์ ศิริคะเณรัตน์ (2562). การศึกษาปัญหาการออกเสียงสระ /u/ และ /y/ ในภาษา จีนกลางของผู้เรียนชาวไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านภาษา วัฒนธรรมและสังคม. 29 พ.ย. 2562. หน้า 14-23.

 

เมธิญญา มัดธนู, มุกข์ดา สุขธาราจาร และ ธนศักดิ์ ศิริคะเณรัตน์ (2562). การวิเคราะห์คำถามของร้านค้าออนไลน์เพื่อประยุกต์ใช้ในระบบแชทบอท. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านภาษา วัฒนธรรมและสังคม. 29 พ.ย. 2562. หน้า 36-48.

 

สวันนีย์ โพธิ์นิ่มแดง, คเชนทร์ ตัญศิริ และ ธนศักดิ์ ศิริคะเณรัตน์ (2562). การขยายความหมายของคำว่า骨ในคังโยขุภาษาญี่ปุ่น:การศึกษาตามแนวอรรถศาสตร์ปริชาน. วารสารญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 36 (1), 89-101.

download

Department of Linguistics

Kasesart University

Contact

ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

อาคารมนุษยศาสตร์ 1 ชั้น 5

เลขที่ 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900


โทร.
025795566 ต่อ 1517


หรือติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ทางเฟสบุคของภาควิชา